ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม คำตอบคือ ได้ค่ะ ไม่มีปัญหาใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ผิดกฎหมาย และ ไม่มีใครสามารถบังคับ เพราะที่บังคับมีเพียงแค่ การต่อพรบ. ( ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ) และ การเสียภาษีรถยนต์ เท่านั้น เป็นอีกคำถามหนึ่งที่มีคนถามเข้ามาอย่างมากมายนะคะ ว่าถ้าต่อ พรบ. แล้วเราไม่ต่อประกันได้ไหม ? ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม ซึ่งก็ไม่แปลกที่หลาย ๆ คนจะเข้าใจผิด หรือ สับสนเกี่ยวกับ ‘ พรบ. ’ หรือ ‘ ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ’ และ ‘ ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ ’ ซึ่งวันนี้จะมาอธิบายความแตกต่าง และ สิ่งที่ต้อง ‘ ต่อ ’ เมื่อคุณมีรถยนต์ค่ะ เพื่อให้ผู้ใช้รถจะได้ทราบความคุ้มครองว่าพรบ.คุ้มครองอะไรบ้าง ? ประกันรถยนต์ภาคสมัครใจคุ้มครองอะไรบ้าง ? เรามีความจำเป็นไหมที่ต้องซื้อประกันเพิ่มมาดูกันค่ะ
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม พ.ร.บ. คืออะไร ?
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม พ.ร.บ. คือ ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ที่คุ้นตากันในรูปแบบของแผ่นสติกเกอร์สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ติดอยู่ริมกระจกหน้ารถ ซึ่งพระราชบัญญัติการจราจรออกกฎหมายบังคับให้ผู้ขับขี่ทุกคนทำพ.ร.บ. โดยมีการระบุไว้ในปี 2535 ว่า รถทุกชนิดจะต้องทำประกัน ให้ความคุ้มคองขั้นพื้นฐานในการดูแลรักษาพยาบาล ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม จากการรับผลจากอุบัติเหตุ หรือ เสียชีวิต โดยจะได้รับความคุ้มครองในรูปแบบของเงินชดเชย และ ค่ารักษาพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนด และ ยังบังคับให้รถยนต์ทุกคันต้องต่อ พ.ร.บ. ใหม่ทุกปี เพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน ของประชาชนบนท้องถนนโดยเฉพาะในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ และ คุณเป็นฝ่ายถูกชน และ ได้รับความเสียหายอย่างหนัก
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม ทำไมถึงต้องบังคับให้ต่อ พรบ. ?
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม เนื่องจากอุบัติเหตุบนท้องถนนเกิดขึ้นได้ง่าย และ บ่อยครั้งมาก ๆ เพราะฉะนั้นกฎหมายจึงต้องระบุให้ทุกคนที่ครอบครองรถต้องมี พรบ. ( ยกเว้นรถบางประเภท เช่น รถของทางพระราชวัง และ ของกระทรวงต่าง ๆ ) เพื่อที่จะมีความคุ้มครองเบื้องต้น และ วงเงินเบื้องต้นที่จะจ่ายให้ผู้ที่เสียหาย หรือ รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม อย่างน้อยก็เป็นการรับประกันว่า คนเจ็บจะได้มีวงเงินใช้รักษาตัว หรือ ชดเชยในเบื้องต้น ( พรบ. จ่ายค่ารักษาพยาบาลสูงสุด 80,000 บาท ) โดยความคุ้มครองทั้งหมดจะคุ้มครองเฉพาะ ‘ คน ’ เท่านั้น
ทำไมรถยนต์ทุกคันต้องทำ พ.ร.บ.?
- หน้าที่ของเจ้าของรถที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายกำหนด
- กฎหมายได้กำหนดให้มีส่วนร่วมในการสร้างหลักประกันต่อสังคม
- ลดปัญหาทางสังคมด้านหนึ่ง โดยที่ไม่ต้องรอการพิสูจน์ความผิด
- มาตรการบรรเทาผลร้ายต่อผู้เสียหายหากเกิดการรับผิดชอบ
- แบ่งเบาภาระของรัฐด้านการรักษาทรัพยากรมนุษย์
- แบ่งเบาภาระของผู้ที่ขับขี่ หากต้องรับผิดชอบเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม แล้วทำไมหลายๆคนถึงต้องซื้อประกันภาคสมัครใจ ( ประกันชั้น 1 2 3 ) เพิ่ม ?
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม แล้วทำไมหลาย ๆ คนถึงต้องซื้อประกันภาคสมัครใจ ( ประกันชั้น 1 2 3 ) เพิ่ม ? ประกันรถยนต์ภาคสมัครใจ คือประกันภัยรถที่กฎหมายไม่ได้บังคับให้ทำ ผู้ขับขี่สามารถทำได้ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจ โดยประกันรถยนต์ภาคสมัครใจ นั้นจะช่วยชดเชยค่าเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถยนต์ ซึ่งความเสียหายนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น รถชนรถ รถชนเสาไฟฟ้า ฟุตบาท หรือ รถชนแบบไม่มีคู่กรณี เป็นต้น นอกจากนี้ยังคุ้มครองรถจากภัยอื่น ๆ อีกไม่ว่าจะเป็นความคุ้มครองสูญหาย ไฟไหม้ น้ำท่วม ภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย รวมถึงมีวงเงินประกันตัวผู้ขับขี่หากเกิดเหตุเป็นคดีอาญา และ ค่ารักษาพยาบาลของผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร และ บุคคลภายนอก แต่อย่างไร ก็ตามความคุ้มครองทั้งหมด ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขความคุ้มครองของประกันรถยนต์แต่ละชั้นด้วย หากเพื่อน ๆ คนไหน สนใจทำประกันรถยนต์ แนะนำให้อ่านเงื่อนไขอย่างละเอียดถี่ถ้วนก่อนตัดสินใจซื้อ จากข้างต้น ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม เมื่อทุก ๆ คนทำ พรบ. แล้วก็จะมีความคุ้มครอง ‘ คน ’ แล้วใช่มั้ยคะ แต่ที่ยังไม่มีความคุ้มครองคือ ‘ รถ ’ นั่นเอง ประกันภาคสมัครใจ จะเข้ามาทำหน้าที่คุ้มครองเพิ่มเติมจาก พรบ. ในการคุ้มครองทรัพย์สินต่าง ๆ ของเรา และ คู่กรณี ( นอกจากนี้ยังมีวงเงินคุ้มครองคนเพิ่มให้อีกด้วย ในกรณีที่ พรบ. จ่ายไม่พอ ) เพราะหากเราเกิดอุบัติเหตุครั้งหนึ่ง นอกจากค่าชดเชยที่เราอาจจะต้องจ่ายเช่น ค่ารักษาพยาบาลแล้ว ก็ยังมีค่าชดเชยที่เราต้องจ่ายในส่วนของทรัพย์สินของคนอื่น และ ค่าซ่อมรถเราอีก ตรงนี้ ประกันภาคสมัครใจจะเข้ามาทำหน้าที่ช่วยจ่ายในส่วนนี้นั่นเอง
ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม โดยสรุปส่วนของประกันรถยนต์ภาคสมัครใจ ไม่ได้บังคับให้ทำในเชิงกฎหมายก็จริง แต่หลาย ๆ คนก็เลือกที่จะทำเพราะเป็นการประกันความเสี่ยง ที่จะเกิดขึ้น และ บรรเทาความเสียหายต่อเงินในกระเป๋ากรณีที่เกิดอุบัติเหตุขึ้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้รถ และ เงินในกระเป๋าของทุกคนด้วยนะคะ หากใครที่คิดว่าเรามีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ ที่เราใช้รถอยู่ประจำ และ ไม่ได้มีเงินเก็บเตรียมพร้อมที่จะจ่ายค่าเสียหายที่เกิดขึ้นมากพอ ก็แนะนำให้ทำเถอะค่ะ 2+ 3+ ก็ได้ ราคาต่ำลงมาหน่อย แต่สบายใจ และ สบายเงินในกระเป๋า ต่อพรบไม่ต่อประกันได้ไหม ส่วนถ้าหากใครใช้รถอยู่ในพื้นที่ ที่ไม่ได้มีความเสี่ยงใด ๆ ที่จะเกิดอุบัติเหตุ หรือ มั่นใจว่าเราขับรถดีพอ ( และ มีดวงดีพอที่คนอื่นจะไม่มาชนเรา ) จะเลือกที่จะไม่ทำก็ได้ค่ะ