ท้องเสีย โควิด เนื่องจากไวรัส COVID-19 เวลามันเข้ามาโจมตีร่างกายเรา มันไม่สามารถเข้ามาได้โดยตรง เพราะภูมิคุ้มกันเราจะคอยดักจับสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกายเป็นประจำอยู่แล้ว แต่ทว่าเชื้อ COVID-19 นั้นฉลาดมาก ในเมื่อเดินเข้ามาทื่อ ๆ ไม่ได้ ก็ติดขออาศัยตัวรับบนผิวเซลล์อื่น ๆ ในการเข้า ออก ร่างกายแทน อารมณ์เหมือนคนแปลกหน้าอยากเข้าหมู่บ้าน แต่รปภ.ไม่ปล่อยเข้า ก็ดักจี้ลูกบ้าน แล้วอาศัยติดรถเข้ามาในร่างกายพร้อมกัน ซึ่งตัวรับบนผิวเซลล์ที่เป็นช่องทางให้เจ้า COVID-19 อาศัยเข้ามาในร่างกายมีชื่อว่า ACE2 Receptor โดยปกติแล้วจะพบตัวรับบนผิวเซลล์ชนิดนี้ได้มากในปอด และ เซลล์เยื่อบุทางเดินหายใจ ก่อนหน้านี้เราก็เลยสันนิษฐานกันว่ามันน่าจะเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์ในระบบทางเดินหายใจเป็นหลัก แต่ทว่า เจ้า ACE2 Receptor ตัวนี้ที่โดน COVID-19 ดักปล้น ท้องเสีย โควิด นอกจากจะมีเยอะในปอดแล้ว ยังพบมากในเซลล์เยื่อบุผิวทางเดินอาหาร และ เยื่อบุท่อน้ำดีอีกด้วย สันนิษฐานว่าเกิดจากการที่ไวรัสเข้าสู่เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร ส่งผลให้เซลล์ทำงานผิดปกติเกิดการดูดซึมผิดปกติ และ มีการรั่วซึมของสิ่งแปลกปลอมภายนอกเข้าสู่เซลล์เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดอาการท้องเสีย
ท้องเสีย โควิดท้องเสียแบบไหนเป็นโควิด" แยกได้ 3 ลักษณะ
ท้องเสีย โควิด จากสถานการณ์การติดเชื้อ “โควิด” ในปัจจุบัน ที่มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่ติดเชื้อมักมีอาการที่ออกมาคล้ายกัน เช่น ปวดหัว มีไข้ ไอ มีน้ำมูก บางรายอาจมีอาการท้องเสียร่วมด้วย ซึ่งมีหลายคำถามว่า แล้วอาการ “ท้องเสียแบบไหนเป็นโควิด” เราได้รวบรวมอาการชัด ๆ มาให้แล้ว กรณีการติดเชื้อโควิด ที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร ซึ่งโดยปกติ ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ ” โควิด ” มักจะส่งผลต่อทางเดินหายใจเป็นหลัก ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ ไข้ ไอ เจ็บคอ น้ำมูกไหล ซึ่งเชื้อส่วนหนึ่งสามารถลงไปที่ระบบทางเดินอาหาร ก่อให้เกิดอาการของระบบทางเดินอาหารได้ เช่น อาการลิ้นไม่รับรส ทานอาหารไม่อร่อย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดมวนท้อง และ มีถ่ายเหลวได้ ซึ่งอาการถ่ายเหลวจะมีลักษณะ ดังนี้
– มีอาการถ่ายเหลว ลักษณะถ่ายเป็นน้ำ จำนวน 3-5 ครั้งต่อวัน
– ไม่มีมูก ไม่มีเลือด
– อาจปวดท้องมวนร่วมด้วย
ท้องเสีย โควิด ซึ่งผู้ป่วยหลายรายไปพบแพทย์ด้วยอาการถ่ายเหลว โดยที่มีอาการทางเดินหายใจร่วมด้วย แต่อีกหลายรายก็ไม่มีอาการทางเดินหายใจเลย ดังนั้น เมื่อสงสัยว่าจะติดเชื้อ “โควิด ” หรือไม่ เช่น เข้าไปในพื้นที่เสี่ยง หรือสัมผัสคนไข้ที่เป็น ” โควิด ” ก่อนหน้า ต้องแจ้งแพทย์ด้วย เมื่อเรามีอาการท้องเสีย เพื่อตรวจหาว่ามีอาการของ ” โควิด ” ตรวจหาเชื้อให้ชัดเจนมากขึ้น
ท้องเสีย โควิด ต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ?
ท้องเสีย โควิด หากมีอาการท้องเสีย หรือ อาเจียน
- ดื่มเกลือแร่แบบซอง ( ORS ) ผสมน้ำต้มสุก โดยสามารถดื่มได้ตลอดทั้งวัน ( สำหรับผู้ป่วยโรคไต หรือ โรคหัวใจ ควรปรึกษาแพทย์ก่อน )
* รับประทานอาหารอ่อน และ หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
* งดอาหารประเภทนม โยเกิร์ต ชีส ผลไม้สด และ อาหารที่ย่อยยาก เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน - อาหารประเภททอด
* หากไม่สามารถรับประทานอาหารในปริมาณต่อมื้อตามปกติได้หมด ให้แบ่งรับประทานอาหารออกเป็นหลายมื้อในช่วงวัน
ท้องเสีย โควิด ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการรักษาอาการท้องเสียโควิดเบื้องต้นค่ะ ทั้งนี้หากมีอาการควรรีบปรึกษาแพทย์
ท้องเสีย โควิด การดูแลตนเองเบื้องต้นเมื่อทราบว่าติดเชื้อโควิด-19
ท้องเสีย โควิด หากทราบว่าตนเองติดเชื้อโควิด -19 และ ยังอยู่ระหว่างการรอเข้าสู่ระบบการรับบริการทางการแพทย์ควรปฏิบัติตามคำแนะนำดังต่อไปนี้
- ปฏิบัติตามคำแนะนำการแยกกักตัวที่บ้าน ( Home Isolation ) อย่างเคร่งครัดเพื่อไม่ให้เชื้อแพร่กระจายไปสู่คนรอบข้าง
- รับประทานอาหารให้เพียงพอ และ ครบถ้วน เพื่อให้ร่างกายมีพลังงาน
- ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างสม่ำเสมอ โดยจิบน้ำเรื่อย ๆ ยกเว้นช่วงก่อนนอน 2 – 3 ชั่วโมง
- นอนหลับพักผ่อนอย่างต่ำวันละ 6 – 8 ชั่วโมง
- ฝึกหายใจช้า ๆ ลึก ๆ โดยหายใจเข้าทางจมูก และ ออกทางปาก ทั้งในท่านั่งตัวตรง นอนหงาย นอนตะแคง หรือ นอนคว่ำ
- ออกกำลังเบา ๆ โดยเดิน 3 นาที หรือ ลุกนั่งบนเก้าอี้ 1 นาที หรือ นานกว่านั้น แต่ไม่ควรหนักเกินไป
- หากิจกรรมผ่อนคลายความเครียด เช่น พูดคุยกับบุคคลอื่นผ่านทางโทรศัพท์
- หากมีอาการเล็กน้อยสามารถรับประทานยาแก้ไข้ ยาแก้ไอยาลดน้ำมูก เพื่อบรรเทาอาการได้
- หากมีอาการรุนแรงให้ไปโรงพยาบาลตามพื้นที่ของท่าน
ท้องเสีย โควิด ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการปฏิบัติตัวระหว่างที่เป็นโควิดที่บ้าน หากท่านปฏิบัติดังกล่าวจะช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวเร็วขึ้น จากอาการโควิดค่ะ
ท้องเสีย โควิด อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่มีอาการของทางเดินอาหาร เมื่อเอาอุจจาระของผู้ป่วยไปตรวจ จะพบว่าในอุจจาระจะพบเชื้อ ” โควิด ” ได้นานหลายสัปดาห์ ซึ่งวิธีการรักษาผู้ป่วย ” โควิด ” ที่มีอาการทางเดินอาหาร การรักษาจะเป็นการรักษาแบบประคับประคองอาการ ให้ยาลดอาการเพื่อให้อาการดีขึ้นตามลำดับ และ เมื่อการติดเชื้อทางเดินหายใจดีขึ้น อาการของระบบทางเดินอาหารก็มักจะดีขึ้นตามไปด้วย ท้องเสีย โควิด ดังนั้นการรักษาแต่เนิ่น ๆ จึงเป็นสิ่งที่ช่วยลดอาการความรุนแรงเหล่านี้ได้ ทั้งนี้ท่านอย่าลืมปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิด โดยต้องสวมใส่หน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือ การเว้นระยะห่างทางกายกับผู้อื่น ( โดยเฉพาะจากผู้ที่มีอาการ ) การปิดการไอ และ จามด้วยกระดาษทิชชู หรือ ข้อพับศอก และ งดนำมือที่ไม่ได้ล้างแตะใบหน้า รวมไปถึงอย่าลืมรับวัคซีนให้ครบตามกำหนด ที่สำคัญอย่ามองข้ามการทำประกันโควิดนะคะ หากท่านต้องรักษาตัวจะได้มีตัวช่วยแบ่งเบาภาระของท่าน