รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน เชื่อว่าคนส่วนใหญ่ใช้รถเกิน 7 ปีกันทั้งนั้น แล้วประกันภัยสำหรับรถเก่าควรทำแบบไหนจึงจะดีที่สุด ? โดยปกติแล้วบริษัทประกันภัย จะรับทำประกันชั้น 1 สำหรับรถยนต์ที่มีอายุไม่เกิน 7 ปี แต่บางบริษัทหากมีการต่อประกันภัยอย่างต่อเนื่อง ก็สามารถอนุโลมได้ถึง 10 ปี หรือ มากกว่านั้น โดยจะนำเอาประวัติการเคลมมาพิจารณาต่อประกันภัยชั้น 1 ควบคู่กันไปด้วย ดังนั้น หากรับค่าเบี้ยประกันไหว ก็ควรต่ออายุประกันภัยชั้น 1 ไปเรื่อย ๆ เพราะสามารถคุ้มครองกรณีเฉี่ยวชนแบบไม่มีคู่กรณี หรือ ถูกชนแล้วหนี ซึ่งประกันภัยประเภทอื่นไม่คุ้มครอง แถมยังได้ส่วนลดทุกปีอย่างต่อเนื่อง หากเป็นรถญี่ปุ่นรุ่นเล็กทั่วไป อาจจ่ายค่าเบี้ยประกันไม่ถึง 1 หมื่นบาทก็มี แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับประวัติการเคลมเช่นกัน รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน รถเก่าอายุเกิน 7 ปี นอกจากจะต้องเข้ารับการตรวจสภาพก่อนชำระภาษีประจำปีแล้ว หลายคนคิดว่าจะต้องถูกจำกัดสิทธิ การทำประกันให้ได้รับความคุ้มครองที่น้อยลง หรือ ไม่ครอบคลุมเหมือนประกันชั้น 1 แล้วแบบนี้เราจะยังสามารถทำประกันชั้นไหนให้กับรถอายุเกิน 7 ปีได้บ้าง เรามาหาคำตอบไปพร้อมกันค่ะ
ประกัน รถยนต์ ชั้น 1 รถ 7 ปี ราคา สูง ( ประกันรถยนต์ชั้น 1 )
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน ประกันรถยนต์ชั้น 1 โดยทั่วไป บริษัทประกันภัยจะรับประกันภัยรถยนต์ชั้น 1 สำหรับรถอายุไม่เกิน 7 ปีเท่านั้น แต่ก็มีบางบริษัทที่รับถึง 9 ปี หรือ กรณีมีการต่อประกันภัยรถยนต์ต่อเนื่องกับบริษัทเดิม ทางบริษัทประกันภัยอาจพิจารณาอนุโลมรับประกันให้รถยนต์ที่มีอายุเกิน 10 ปีได้ แต่ก็ต้องพิจารณาจากประวัติการเคลมด้วย ซึ่งประกันรถยนต์ชั้น 1 ที่รับรถเกิน 7 ปี มีอยู่หลายบริษัทด้วยกัน เช่น ประกันชั้น1 เพียง 7,500 บาท / ปี ผ่อน 0 % ของไทยวิวัฒน์ประกันภัย คุ้มครองทั้งรถเก่า รถใหม่ อายุสูงสุดถึง 12 ปี จะเก๋ง หรือ กระบะก็ทำได้ แถมเวลาทำก็ไม่ต้องตรวจสภาพรถ คุ้มครองความเสียหายต่อรถยนต์ แม้ไร้คู่กรณี คุ้มครองทรัพย์สินในรถจากการถูกโจรกรรม และ รับประกันซ่อมสีด้วย รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน หากบริษัทประกันภัยที่เราเล็งไว้ กำหนดว่ารถเกิน 7 ปี ไม่สามารถทำประกันชั้น 1 ได้เราก็สามารถเลือกทำประกันรถยนต์ประเภทอื่น ๆ ได้ โดยพิจารณาจากความคุ้มครองที่ต้องการ
ประกัน รถยนต์ ชั้น 1 รถ 7 ปี ราคา ไม่แรง ( ประกันรถยนต์ชั้น 2+ )
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน ประกันรถยนต์ชั้น 2+ จะให้ความคุ้มครองคล้ายกับประกันรถยนต์ชั้น 3+ คือ คุ้มครองความเสียหายต่อตัวรถเมื่อเกิดอุบัติเหตุมีคู่กรณี หรือ เกิดอุบัติเหตุรถชนกับรถเท่านั้น ประกัน รถยนต์ ชั้น 1 รถ 7 ปี ราคา ไม่แรง
ความคุ้มครองประกันรถยนต์ชั้น 2+
- คุ้มครองความเสียหายต่อตัวรถยนต์ เฉพาะกรณีที่ชนกับรถ และ มีคู่กรณีเท่านั้น
- คุ้มครองชีวิต และ ร่างกายของผู้เอาประกัน ผู้โดยสารในรถยนต์คันเอาประกัน คู่กรณี รวมถึงบุคคลภายนอก
- ค่าประกันตัวผู้ขับขี่
- ค่ารักษาพยาบาล
- คุ้มครองทรัพย์สินของบุคคลภายนอก
- การสูญหาย และ ไฟไหม้ของตัวรถยนต์
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน เหมาะสำหรับคนที่ไม่ค่อยได้ใช้รถ หรือ ขับไปทำงานแล้วจอดรถไว้เฉย ๆ รถเก่าก็ทำได้ไม่ต้องตรวจสภาพรถ จึงไม่จำเป็นต้องจ่ายค่าเบี้ยแพง ๆ
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน ( ประกันรถยนต์ชั้น 3+ )
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน สำหรับประกันรถยนต์ชั้น 3+ ให้ความคุ้มครองความเสียหายต่อตัวรถ เฉพาะกรณีรถชนกับรถเท่านั้น
- คุ้มครองความเสียหายต่อตัวรถยนต์ เฉพาะกรณีที่ชนกับรถ และ มีคู่กรณีเท่านั้น
- คุ้มครองชีวิต และ ร่างกายของผู้เอาประกัน ผู้โดยสารในรถยนต์คันเอาประกัน คู่กรณี รวมถึงบุคคลภายนอก
- ค่าประกันตัวผู้ขับขี่
- ค่ารักษาพยาบาล
- คุ้มครองทรัพย์สินของบุคคลภายนอก
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ค่อยได้ใช้รถ ขับรถไม่ค่อยเกิดอุบัติเหตุ และ ที่สำคัญไม่ต้องตรวจสภาพรถ และ ไม่จำกัดอายุรถ ทำให้เบี้ยประกันรถประเภท 3+ มีราคาถูก
รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน การนับอายุรถยนต์ ให้เริ่มนับจากปีที่จดทะเบียนในสมุดจดทะเบียนรถยนต์ เช่น ปีจดทะเบียนรถยนต์ คือ พ.ศ. 2558 ในปี 2558 จะเท่ากับอายุรถ 1 ปี ในปี 2559 เท่ากับอายุรถ 2 ปี ไปเรื่อย ๆ ทั้งนี้รถ และ คุณจะได้รับความคุ้มครองมากน้อยแค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับเจ้าของรถว่าจะเลือกทำประกันรถยนต์ชั้นไหน เพื่อสร้างความอุ่นใจ ขอแนะนำว่าการจะเลือกซื้อประกันรถยนต์ รถอายุเกิน7ปีทำประกันภัยรถยนต์ชั้นไหน ควรต้องหาประกันประเภทที่ตอบโจทย์การใช้รถของคุณมากที่สุด และ เมื่อหาประกันที่ใช่ได้แล้ว ให้ทำการเปรียบเทียบประกันจากบริษัทประกันภัยต่าง ๆ เพื่อให้ได้ประกันที่เบี้ยราคาถูกที่สุด คุ้มครองครอบคลุมที่สุด และ ที่สำคัญอย่าลืมศึกษารายละเอียดประกันภัยของท่านให้ชัดเจน เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด หรือ ปัญหาในการเคลมประกันภัยในภายหลังค่ะ